คลิปการทดลองวิทยาศาสตร์
Portfolio subject to the science experiences management for Early Childhood
หน้าหลัก
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2563
สื่อเพื่อพัฒนาลูกรัก
สื่อเพื่อพัฒนาลูกรัก
วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563
สรุปตัวอย่างการสอน
สรุปตัวอย่างการสอน
สรุปโทรทัศน์ครู
เรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
เรื่อง : สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
โดย : ครูประกายแสง เงินกร และ ครูวาสนา พรมตา
การสอนวิทยาศาสตร์นั้นจะทำให้เด็กช่างสังเกต พอสังเกตก็จะทำให้เกิดปัญหา แล้วปัญหาเล่านั้น ก็จะทำให้เกิดสมมติฐาน และพอมีปัญหาเกิดขึ้นแล้วเด็กก็สงสัยอยากที่จะหาคำตอบ ซึ่งในการทดลองนั้นเด็กจะชอบมากเพราะเด็กจะได้ลงมือกระทำด้วยตนเองผ่านประสบการณ์ตรงซึ่งการที่เราจะเป็นจิตวิทยาศาสตร์ได้นั้นจะต้องเป็นคนช่างสังเกต การสังเกตนั้นต้องละเอียด ถี่ถ้วน
การปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก
คือเราต้องทำอย่างไรให้เด็กรักในวิทยาศาสตร์ ไม่เบื่อ อยากเรียน อย่างรู้อยากเห็น มีความสนใจซึ่งการสร้างจิตวิทยาศาสตร์ให้เด็กนั้นทำได้โดย
- สร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน คือ การเตรียมอุปกรณ์ในการทดลอง ขั้นนี้เด็กจะเกิดการอยากรู้อยากเห็น รู้จักสังเกต อยากถามเกี่ยวกับอุปกรณ์
- สังเกตหลังจากที่สอนว่าเด็กมีความสนใจเนื้อหา สนุกในการเรียนการสอน หรือไม่
- สัมภาษณ์ผู้ปกครองว่าเด็กเป็นอย่างไรเมื่ออยู่ที่บ้าน
การเตรียมตัวของครูผู้สอน
- การสอนแบบบรรยาย ครูต้องมีเทคนิคในการสอน ครูต้องมีการเตรียมความพร้อม เนื้อหาต้องสั้น กะทัดรัด และเกิดความเข้าใจ เพราะถ้าเราพูดนาน ๆ เด็กจะเบื่อ เนื่องจากเด็กมีสมาธิที่สั้น
- การทดลอง เด็กจะตื่นเต้นอยากรู้อยากเห็น เกิดข้อสงสัย เด็กจะเรียนรู้จากการกระทำของเขาเอง
ถ้าวางแผนไม่ดีเด็กจะไม่สนใจ การวางแผนที่ดี คือ ชื่อเรื่อง ต้องมีสิ่งเร้า ซึ่งสิ่งเร้า เด็กต้องสามารถหาหนทางแก้ไขปัญหาให้กับเราได้
เด็กสามารถเรียนรู้โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์คือต้องชั่งสังเกต พอเกิดการสังเกต ก็จะเกิดปัญหา เด็กต้องรวบรวมปัญหาเพื่อเป็นการตั้งสมมติฐาน เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นการฝึกให้เด็กเกิดการคิดวิเคราะห์ ในการทดลอง เราไม่ควรไปตีกรอบผลการทดลอง ซึ่งถ้าทดลองเสร็จแล้วให้เด็กแต่ละกลุ่มออกมารายงานผล เผื่อเป็นการสรุปผลซึ่งในการทดลองจะทำให้เด็กได้เกิดกระบวนการกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนอีกด้วย
สรุปวิจัย
สรุปวิจัย
สรุปวิจัย
ปริญญานิพนธ์ของ สุมาลี หมวดไธสง
มหาลัยวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีพ.ศ. 2554
ความสำคัญของงานวิจัย
เป็นการเผยเพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย โดยได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนและเป็นแนวทางในการใช้วิธีการสอนและการจัดกิจกกรมให้ดู และผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยนำไปพัฒนาทักษะด้านอื่นๆให้แก่เด็ก ต้องเป็นการส่งเสริมพัฒนาการและศักยภาพของเด็กปฐมวัยต่อไป
ความมุ่งหมายของงานวิจัย
1.ระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2.เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
เป็นเด็กปฐมวัยอายุ 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศสุวรรณภูมิ สมุทรปราการ จำนวน 180 คน
ตัวแปรที่ศึกษา
1.ตัวแปรอิสระ ได่้แก่ กิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2.ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
1.แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2.แบบทดสอบในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
2.1.การจัดหมวดหมู่
2.2.การหาความสัมพันธ์
ระยะเวลาการวิจัย
การทดลองครั้งนี้ดำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 เป็นเวลา 8 สัปดาห์สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 40 นาที รวมเวลาทดลองทั้งสิ้น 24 ครั้ง ในช่วงเวลา 10.00-10.40 น. โดยมีลำดับขั้นตอนดังนี้
1.สร้างความคุ้นเคยกับกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา 1 สัปดาห์
2.นำแบบทดสอบการคิดวิเคราะห์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาทดสอบก่อนทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง
3.ดำเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง โดยการใช้กิจกรรม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนเป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 40 นาที
สรุปผลการวิจัย
1.ผลการศึกษาระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของ ระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2.ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบานการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
สรุปบทความ
สรุปบทความ
สรุปบทความ
เรื่อง : วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Science for Early Childhood)
ผู้เขียน : บุญไทย แสนอุบล
การเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นมิใช่หมายถึงสาระทางเคมี ชีววิทยา แต่เด็กปฐมวัยนั้นจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กและธรรมชาติเป็นหลักสำคัญ ซึ่งได้แบ่งสาระทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ 4 หน่วย ดังนี้
หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว
หน่วยที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการรับรู้
หน่วยที่ 3 รู้ทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
หน่วยที่ 4 การจัดหมู่และการแยกประเภท
ในการเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์ทั้ง 4 เด็กจะตั้งใช้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่
- การสังเกต
- การจำแนกประเภท
- การสื่อความหมาย
- ทักษะการลงความเห็น
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล ซึ่งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้ได้โดยครูกับเด็กช่วยกันคิดและปฏิบัติ แบ่งเป็น 5 ขั้นดังนี้
ขั้นที่ 1 การกำหนดขอบเขตของปัญหา ครูกับเด็กร่วมกันคิดตั้งประเด้กปัญหาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น ต้นไม้โตได้อย่างไร ขั้นที่ 2 ตั้งสมมุติฐาน เป็นขั้นของการวางแผนร่วมกัน ในการที่จะทดลองหาคำตอบจากการคาดเดาล่วงหน้า ขั้นที่ 3 ทดลองและเก็บข้อมูล เป็นขั้นตอนที่ครูกับเด็กร่วมกันดำเนินการตามแผนการทดลองตาสมมุติฐานที่ตั้งไว้ในขั้นที่ 2 ขั้นที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูล ครูและเด็กนำผลการทดลองมาสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นร่วมกัน ขั้นที่ 5 สรุปผลคำตอบสมมุติฐาน ว่าผลที่เกดคืออะไร เพราะอะไร ทำไม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 5 ขั้น เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่งเป็นวัฏจักร ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องนำมาใช้ในกระบวนการ คือ การสังเกต การจำแนกประเภทและเปรียบเทียบ การวัด การสื่อสาร การทดลอง การสรุปและการนำไปใช้
สาระที่เด็กต้องเรียน- สาระเกี่ยวกับพืช เช่น พืช ต้นไม้ ดอกไม้
- สาระเกี่ยวกับสัตว์ เช่น ประเภทของสัตว์ สวนสัตว์
- สาระเกี่ยวกับฟิสิกส์ เช่น การจม การลอย
- สาระเกี่ยวกับเคมี เช่น รสของผลไม้ ความร้อน
- สาระเกี่ยวกับธรณีวิทยา เช่น ดิน ทราย หิน
- สาระเกี่ยวกับดาราศาสตร์ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
เป้าหมายของการเรียนวิทยาศาสตร์- ให้เด็กได้ค้นคว้าและสืบค้นสิ่งต่าง ๆ และปรากฎการณ์ที่มี
- ให้เด็กได้ใช้ประบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง
- กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจ และเจตคติของเด็กให้พบ
- ช่วยให้เด็กค้นหาข้อมูลความรู้บางอย่างที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันและการสืบค้น
หลักการจัดกิจกรรม แบ่งได้ 5 ข้อ- เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็ก
- เอื้ออำนวยให้แก่เด็กที่กระทำ
- เด็กต้องการและสนใจ
- ไม่ซับซ้อน
- สมดุล
สรุปได้ว่าสิ่งที่ได้จากวิทยาศาสตร์นั้น คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยในการค้นคว้า การสืบค้น และการเข้าใจสภาพแวดล้อมรอบตัว รู้จักการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เรื่อง : วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Science for Early Childhood)
ผู้เขียน : บุญไทย แสนอุบล
การเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นมิใช่หมายถึงสาระทางเคมี ชีววิทยา แต่เด็กปฐมวัยนั้นจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กและธรรมชาติเป็นหลักสำคัญ ซึ่งได้แบ่งสาระทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้ 4 หน่วย ดังนี้
หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว
หน่วยที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการรับรู้
หน่วยที่ 3 รู้ทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
หน่วยที่ 4 การจัดหมู่และการแยกประเภท
ในการเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์ทั้ง 4 เด็กจะตั้งใช้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่
- การสังเกต
- การจำแนกประเภท
- การสื่อความหมาย
- ทักษะการลงความเห็น
- สาระเกี่ยวกับพืช เช่น พืช ต้นไม้ ดอกไม้
- สาระเกี่ยวกับสัตว์ เช่น ประเภทของสัตว์ สวนสัตว์
- สาระเกี่ยวกับฟิสิกส์ เช่น การจม การลอย
- สาระเกี่ยวกับเคมี เช่น รสของผลไม้ ความร้อน
- สาระเกี่ยวกับธรณีวิทยา เช่น ดิน ทราย หิน
- สาระเกี่ยวกับดาราศาสตร์ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
- ให้เด็กได้ค้นคว้าและสืบค้นสิ่งต่าง ๆ และปรากฎการณ์ที่มี
- ให้เด็กได้ใช้ประบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง
- กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจ และเจตคติของเด็กให้พบ
- ช่วยให้เด็กค้นหาข้อมูลความรู้บางอย่างที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจำวันและการสืบค้น
- เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็ก
- เอื้ออำนวยให้แก่เด็กที่กระทำ
- เด็กต้องการและสนใจ
- ไม่ซับซ้อน
- สมดุล
วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563
บันทึกครั้งที่ 10
บันทึกครั้งที่ 10
วันศุกร์ ที่ 13 พฤศจิกายน 2563 เวลา 08:30-12.30 น.
สรุปสิ่งได้เรียน
พูดคุยกับด็กในชีวิตประจำวัน เริ่มจากคำถามที่สนใจ จากสิ่งที่เด็กเรียนรู้ครูมีหน้าที่ชักชวนเด็ก มีวิธีการหาคำตอบ ให้ข้อมูลมีบทบาทในการกระตุ้นให้ได้เกิดความคิด
การจดบันทึก
ต้องจดตามคำถามของเด็ก ว่าเขาค้นพบอะไร เด็กรู้สึกยังไง คำตอบเหล่านี้นำไปสู่ความคิดของเด็ก
การเข้าสู่กิจกรรม
-ใครอยากช่วยครูทำบ้าง
-ไหนใครอยากทำบ้าง
ชวนเด็กในการทำกิจกรรม ทำอะไร เห็นอะไร ความรู้ในระดับเเนวคิดรวบยอดที่ครูควรรู้ มีการบูรณาการ วิชาวิทยาศาสตร์เข้ากับวิชาอื่นๆ การคิด สาระคณิตศาสตร์การนับจำนวน
งานที่ได้รับมอบหมาย
บันทึกครั้งที่ 9
ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังที่อาจารย์มอบหมายงาน
ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังและตอบคำถามอาจารย์
ประเมินอาจารย์ พูดอธิบายงานอย่างละเอียด
บันทึกครั้งที่ 8
บันทึกครั้งที่8
-ร่างกายมนุษย์มีน้ำ เป็นส่วนประกอบมากกว่า 70% หน้าที่ของน้ำในร่างกายช่วยย่อยอาหาร ละลายสารอาหาร ถ้าร่างกายของเราผ่านน้ำจะรู้สึกอ่อนเพรียร่างกายของเราจะขับเหงื่อออกมาในเวลาที่ได้รับความร้อน มนุษย์ขาดน้ำได้ 3วัน
-สิ่งมีชีวิตต่างๆในโลกล้วยมีน้ำเป็นองค์ประกอบ
การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
ของเเข็ง > ของเหลว = เกิดการหลอมเหลว
ของเหลว > เเก๊ส = การระเหย
เเก๊ส > ของเหลว = การระเหย
ฝนตกเกิดจาก
เกิดจากเเหล่งน้ำที่ได้รับความร้อนจากพลังงานเเสงอาทิตย์ กลายเป็นไอน้ำขนาดใหญ่ที่ละเหยไปบนท้องฟ้า ทำให้ก้อนเมฆ☁️เกิดการควบเเน่นเเล้วกลายเป็นฝนตกลงมา
การระเหยของน้ำ
การกลายเป็นไอที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะทำให้กลายเป็นไอ ผิวหน้ากว้างจะละเหยได้ดีกว่า
ยกตัวอย่างการทดลองในคลิปวิดิโอ
อุปกรณ์
1.เเก้วน้ำ
2.กระดาษเเข็ง
วิธีทำ
ใส่น้ำให้เต็มเเก้วจากนั้นนำกระดาษเเข็งปิดปากเเก้ว เเล้วนำไปเเช่ตู้เย็น
เมื่อนำเก้วออกมาจากตู้เย็นสังเกตเห็นผลที่ได้คือ โมเลกุลที่อัดเเน่นทำให้เกิดน้ำเเข็งทำให้ดันกระดาษถุกดันออกมาน้ำเเข้งจึงล้นออกมาจากเเก้วได้
อุปกรณ์
1.ขวด
2.ที่เจาะรู
3.เทป
วิธีทำ
1.เจาะรูทั้ง 3 รู เว้นระยะห่าง
2.ใช้เทปปิดรู
3.ใส่น้ำจนเต็มขวด
3.เปิดรูออกที่ละรูจนครบทุกรู
ผลที่ได้
น้ำในเเต่ละรูพุ่งออกมาในระดับที่ไม่เท่ากันในเเต่ละส่วน เพราะเกิดจากการที่มีเเรงกดดันที่ไม่เท่ากัน
รูบนสุด > เเรงกดดันจะน้อย
รูล่างสุด > เเรงกดดันมาก
ยกตัวอย่างของเล่นวิทยาศาสตร์
อุปกรณ์
1.ขวดน้ำ
2.ตุ๊กตาดินน้ำมันมีโพรงอากาศอยู่
วิธีการเล่น
บีบขวดน้ำ ทำให้ปลาหมึกลอยขึ้นบนขึ้นล่าง
จากที่ได้ดูคลิปวิดิโอเสร็จอาจารย์ก็ได้มอบหมายงาน 2 งาน โดยทำเป็นกลุ่ม
งานชิ้นที่ 1
สรุปเป็นองค์ความรู้ความเข้าใจจากสิ่งที่ได้ดูในคลิป
งานชิ้นที่ 2
ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังที่อาจารย์มอบหมายงาน
ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังและตอบคำถามอาจารย์เมื่ออาจารย์ถาม
ประเมินอาจารย์ พูดอธิบายงานอย่างละเอียด
บันทึกครั้งที่ 7
บันทึกครั้งที่7
ทักษะการสังเกต ว่าสิ่งที่เพื่อนๆว่าแหล่งน้ำมันคือที่ไหน และมีจุดเด่นอะไรบ้าง
ทักษะการคิดวางแผน ในการทำสไลเดอร์อย่างไรเพื่อที่จะให้ดอนน้ำมันกลิ้งลงได้ช้าที่สุด
ทักษะในการให้เหตุผล การที่ทำให้ให้ดินน้ำมันกลิ้งนานก็จะต้องทำให้สไลเดอร์ต่ำลง
วิทยาศาสตร์
ระดับของความราดเอียงของสไลเดอร์ ความสูงต่ำ และการเสียดทานของหลอดกับดินน้ำมัน มีการจับเวลา เกี่ยวกับสเปสกับเวลา
คณิตศาสตร์
เรื่องจำนวน ว่าใช้หลอดที่อาจารย์เตรียมให้กี่อัน
เรื่องการวัด ระยะของความยาว และการจับเวลา
เทคโนโลยี
อุปกรณ์ที่มีการพัฒนาจากเดิม เช่น สก๊อตเทป
วิศวกรรม
การออกแบบที่มีเป้าหมาย มีการเขียนแบบก่อนที่จะลงมือสร้าง
ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังที่อาจารย์มอบหมายงาน
ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังและตอบคำถามอาจารย์เมื่ออาจารย์ถาม
ประเมินอาจารย์ พูดอธิบายงานอย่างละเอียด
บันทึกครั้งที่ 6
บันทึกครั้งที่ 6
ประเมินตนเอง ตั้งใจฟังที่อาจารย์มอบหมายงาน
ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังและตอบคำถามอาจารย์เมื่ออาจารย์ถาม
ประเมินอาจารย์ พูดอธิบายงานอย่างละเอียด